คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ลำดับที่
สาขาวิชา
ภาคปกติ
ความก้าวหน้า
ในอาชีพ
หลักสูตร
จำนวนที่รับ
คุณสมบัติเพิ่มเติม
1
การพัฒนาชุมชน
30
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
สามารถทำงานในชุมชนได้ เช่น เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน เจ้าหน้าที่หรือบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักการเมืองระดับท้องถิ่น และนักการเมืองระดับชาติ ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน นักบริหารจัดการเกี่ยวกับชุมชนและการสร้างความมั่นคงให้กับชุมชน เจ้าหน้าที่งานสาธารณสุขมูลฐาน นักพัฒนา เจ้าหน้าที่ด้านองค์กรการเงินชุมชน หรือหน่วยงานที่บริการด้านการเงินชุมชน ผู้นำกลุ่ม ผู้นำองค์กรชุมชน ผู้รู้และผู้นำด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น อาสาสมัครเพื่อการทำงานด้านการพัฒนาชุมชน ทำงานสนับสนุนและเพิ่มโอกาสทางสังคมแก่ผู้ด้อยโอกาส ประกอบอาชีพอิสระ นักวิชาการ และนักวิจัยอิสระ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ตามเงื่อนไข พ.ร.บ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 โดยต้องเรียนหลักสูตรประกาศนียบัณฑิตวิชาชีพครูเพิ่มอีก 1 ปี) ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และกระทรวงวัฒนธรรม ผู้นำชุมชนทั้งภาครัฐและภาคเอกชน นักพัฒนาท้องถิ่นฯ

2
ภาษาจีน
30
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
สามารถสมัครเข้าทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชน เช่น นักวิชาการ นักวิจัย ครู อาจารย์ นักข่าว พิธีกร นักประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับภาษาจีน ล่าม มัคคุเทศก์ พนักงานสายการบินและโรงแรม ธุรการ เลขานุการ ล่าม นักแปล เจ้าหน้าที่สถานทูต งาน นักเขียน นักประพันธ์ นักวิจารณ์
3
ภาษาญี่ปุ่น
30
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
สามารถสมัครเข้าทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชน เช่น นักวิชาการ นักการศึกษา ครูสอนภาษาญี่ปุ่น นักข่าว ผู้ประกาศข่าว พีธีกร
นักประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับ ภาษาญี่ปุ่น บรรณาธิการ พิสูจน์อักษรภาษาญี่ปุ่น นักเขียน นักประพันธ์ นักวิจารณ์ ธุรการ เลขานุการ ล่าม นักแปล เจ้าหน้าที่สถานทูต มัคคุเทศน์ พนักงานสายการบินหรือโรงแรม
4
ภาษาอังกฤษธุรกิจ
60
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
ผู้บริหารหรือพนักงานในหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชน หรือสถาบันการเงิน ผู้บริหารหรือพนักงานในธุรกิจการโรงแรม เช่น พนักงานต้อนรับ พนักงานรับโทรศัพท์ พนักงาน บริการในส่วนห้องอาหารและห้องพัก ผู้บริหารหรือพนักงานในธุรกิจการท่องเที่ยว เช่น มัคคุเทศก์ บริษัททัวร์ พนักงานเรือสำราญ ผู้บริหารหรือพนักงานในธุรกิจการบิน เช่น พนักงานต้อนรับบนเครื่องและภาคพื้นดิน นักวิชาการด้านภาษาอังกฤษ เช่น ครู อาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการศึกษา นักธุรกิจ ผู้ประกอบการ ธุรกิจนำเข้า - ส่งออก ธุรกิจออนไลน์ อาชีพอิสระ เช่น ล่าม นักแปล นักเขียน สอนเสริม
5
การจัดการสารสนเทศดิจิทัล
20
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
หลักสูตรนี้ได้ออกแบบเพื่อให้บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สามารถทำงานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ และสารสนเทศในห้องสมุดทุกประเภท สถาบันหรือหน่วยงานบริการสารสนเทศต่าง ๆ อาทิ
1. นักสารสนเทศ (Information Professionals)
2. นักเอกสารสนเทศ
3. นักสื่อสารดิจิทัลคอนเทนต์
4. บรรณารักษ์ดิจิทัล/ เจ้าพนักงานห้องสมุด (Librarian/Digital Librarian)
5. ผู้จัดการสารสนเทศบนเว็บ (Web Content Manager)
6. ผู้พัฒนาเนื้อหาดิจิทัล (Digital Content Creator)
6
ศิลปะและการออกแบบ
20
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
สามารถสมัครเข้าทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชน เช่น พนักงานฝ่ายศิลป์ภาครัฐและห้างร้านหรือบริษัททั่วไป นักออกแบบป้ายโฆษณา ช่างถ่ายภาพเพื่องานกราฟิก นักออกแบบสิ่งพิมพ์ นักออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ศิลปินหรือช่างศิลป์อิสระ นักออกแบบผลิตภัณฑ์ แอนนิเมเตอร์ (นักตัดต่อโมเดลการ์ตูนให้ขยับได้) นักออกแบบตัวละคร โมเดลเลอร์ (นักปั้นโมเดลการ์ตูนในคอมพิวเตอร์) นักตัดต่อ นักจัดแสงแอนนิเมชั่น (นักจัดแสงภาพยนตร์และการ์ตูน) นักเซ็ทอัพแอนนิเมชั่น นักเขียนบทแอนิเมชั่น ผู้กำกับฝ่ายศิลป์ ดีไซน์เนอร์ ครูสอนทางด้านศิลปะและการออกแบบ
7
ประวัติศาสตร์
30
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
สามารถสมัครเข้าทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชน เช่น ครู/ อาจารย์สอนวิชาประวัติศาสตร์หรือสังคมศึกษา (เรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพครูเพิ่มเติม) ศึกษานิเทศก์ในสาขาสังคมศาสตร์ รับราชการในหน่วยงานต่าง ๆ นักการทูต กระทรวงการต่างประเทศ นักอักษรศาสตร์หรือนักประวัติศาสตร์ สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร นักจดหมายเหตุ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร นักวิชาการวัฒนธรรมประจำสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด หรือกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม นักวิชาการการศึกษาในองค์กรปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และองค์การบริหารส่วนจังหวัด ภัณฑารักษ์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร รวมทั้งเป็นภัณฑารักษ์ของหน่วยราชการอื่น ๆ ได้แก่ กรมธนารักษ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ นักวิจัยหรือนักวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ จดหมายเหตุ มานุษยวิทยา สังคมศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่น การพัฒนาในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บุคลากรด้านการท่องเที่ยวทั้งในส่วนราชการ เช่น กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และหน่วยงานเอกชน เช่น บริษัทท่องเที่ยว นักสื่อสารมวลชน เช่น สำนักพิมพ์ หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ นิตยสาร แปลบทภาพยนตร์
8
นิเทศศาสตร์
20
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
สามารถสมัครเข้าทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ผู้กำกับภาพยนตร์ / ผู้กำกับรายการโทรทัศน์ / ผู้กำกับงานโฆษณา / ผู้กำกับการแสดง ผู้ดำเนินรายการ / ผู้ประกาศ / นักพากย์ทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผู้สื่อข่าว / ผู้ประกาศข่าว / ช่างภาพข่าว / บรรณาธิการข่าวทางสื่อรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์, สิ่งพิมพ์, สื่อดิจิทัล และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้บริหารงาน / ผู้ผลิตภาพยนตร์และมัลติมีเดีย, รายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ช่างภาพงานวิทยุโทรทัศน์ / ช่างภาพงานโฆษณา / ช่างภาพงานภาพยนตร์ นักออกแบบฉาก /
ช่างแต่งหน้า / ช่างแต่งตัวเพื่อการแสดง นักตัดต่อสื่อและเทคนิคพิเศษ / นักผลิตงานสารคดี นักโฆษณา / นักเขียนคำโฆษณา / นักสื่อสารการตลาด / เจ้าหน้าที่บริหารงานลูกค้า นักบริหารจัดการงานแสดง/งานนิทรรศการ/นักบริหารงานลูกค้าสัมพันธ์/เจ้าหน้าที่ลูกค้า สัมพันธ์/ เจ้าหน้าที่ประสานงานกิจกรรมองค์กร นักโฆษณาและประชาสัมพันธ์ / นักวางแผนและกลยุทธ์การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ นักเขียนบทภาพยนตร์, บทรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นักคิดสร้างสรรค์ออกแบบงานด้านสื่อทุกประเภท
9
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
50
ศึกษาในแผนการเรียน
ทุกแผนการเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หรือเทียบเท่า
สามารถสมัครเข้าทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชน เช่น ผู้ประกาศข่าว บุคลากรทางการศึกษาและนักวิชาการ นักวิจัยสาขาวิชาภาษาไทย นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ และนักสื่อมวลชน นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์ บรรณาธิการ มัคคุเทศก์ ครูผู้สอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพครูเพิ่มเติม) ข้าราชการหรือพนักงานในหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น ได้แก่ นักวิชาการ นักวิจัยด้านภาษา ธุรกิจอื่น ๆ

 

* หากสาขาวิชาหรือแขนงวิชาใด มีนักศึกษาไม่ถึง 10 คน มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธิ์ไม่เปิดสอน